DMCR PUBLICATIONS

รายงานผลการศึกษาสำรวจ สถานภาพแนวปะการังหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวในพื้นที่อ่าวไทยฝั่งตะวันออก และอันดามัน งวดที่ 2

  • มีผู้สนใจ จำนวน 930 คน

มกราคม 2556

-

สืบเนื่องจากปรากฏการณอุณหภูมิของน้ำทะเลขึ้นสูงผิดปกติในชวงระหวางเดือนเมษายนถึงพฤษภาคม 2553 ทําใหแนวปะการังทั้งฝงอาวไทยและทะเลอันดามันเกิดการฟอกขาวขึ้นในระดับที่แตกตางกันไป จากการสํารวจในเดือนกรกฎาคม 2553 พบวาแนวปะการังสวนใหญในพื้นที่ภูเก็ต พังงา และกระบี่ พบวาปะการังเขากวางประมาณรอยละ 70 - 90 ไดตายลง สวนบริเวณอาวไทยโดยเฉพาะแนวปะการังในจังหวัดระยองและกลุมเกาะชางจ.ตราด ซึ่งถือเปนแหลงทองเที่ยวที่สําคัญ มีปะการังซึ่งสวนใหญเปนกลุมปะการังเขากวางที่ตายจากการฟอกขาวตั้งแตรอยละ 35 - 60 การที่ปะการังในนานน้ำไทยมีการตายเปนบริเวณกวางในเวลาพรอมกันเชนนี้นับเปนความเสียหายอยางรุนแรง นอกจากนี้นักวิทยาศาสตรและผูเชี่ยวชาญคาดการณวาสภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก จะสงผลใหการฟอกขาวของปะการังในภูมิภาคตาง ๆ รวมทั้งประเทศไทยมีแนวโนมจะเกิดถี่และมีความรุนแรงมากขึ้น ดังนั้นหนวยงานที่เกี่ยวของทุกฝายจึงจําเปนตองรวมกันหาแนวทางในการจัดการและบรรเทาปญหาปะการังฟอกขาวที่เกิดขึ้น และหาแนวทางในการเตรียมรับมือกับสภาวการณดังกลาวในระยะยาว ตอไป

-

สถานวิจัยความเป็นเลิศความหลากหลายทางชีวภาพแห่งคาบสมุทรไทย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

-

กลุ่มทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

13 ธ.ค. 2556