
กรกฎาคม 2563
-
ความยั่งยืนของอาหารทะเล โดยการนิยามจาก National Oceanic and Atmospheric Administration, NOAA ระบุว่า "อาหารทะเลนั้นจะมีความยั่งยืนได้ถ้ประชากรของสัตว์น้ำทะเลนั้นได้รับการ จัดการเพื่อสนองต่อความต้องการของมนุษย์ในปัจจุบันโดยไม่ทำลายความสามารถในการฟื้นตัวและการเพิ่มประชากรของสัตว์น้ำทะเลในอนาคต" มื่อสัตว์น้ำทะเลถือเป็นแหล่สารอาหารอันดับตันที่มีคุณค่าสำคัญเพื่อการบริโภคของมนุษย์ เช โปรตีน เกลืแร่ วิตมิ และกรดไชมันไม่อิ่มตัว (โอเมก้า 3) ปัจจุบันความต้องการบริโภค สัตว์น้ำทะเลทั่วโลกกำลังเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว Food and Agricultural Organization, FAO ระบุว่าในปี พ.ศ. 2559 ทั่วโลกบโภคสัตว์น้ำทะเลเป็นปริมาณ 171 ล้านตัน ในปี พ.ศ. 2573 ที่จะถึงนี้ตัวเลขดังกล่าวคาดว่า จะพุ่งสูงถึง 201 ล้นตัน โดยปริมาณการบริโภคสัตว์น้ำของประเทศไทยปี พ.ศ.2559 เฉลี่ยอยู่ที่ 33.73 กิโลกรัม/คน/ปื โดยอัตราการบริโภคตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555-2559 ขยายตัวเพิ่มขึ้นทุกปีตามความต้องการของผู้บริโภค จำนวน อุตสาหกรรมการประมงที่เพิ่มมากขึ้นนำไปสู่การประมงเกินขนาด ข้อมูลจาก FAO ในปี พ.ศ.2558 พบว่า ประชกรสัตว์น้ำทะเลทั่วโลก 2 ใน 3 ส่วนถูกจับเกินศักยภาพการผลิต โดยมีการคาดการณ์ว่าในอนาคตทั่วโลก อาจเกิดการขาดแคลนสัตว์น้ำทะเล เนื่องจากสัตว์น้ำในธรรมชาติมีปริมาณลดลงจากการจับเกินขนาด การทำประมผิดกฎหมาย การจับติดสัตว์น้ำที่ไม่ใช่ป้าหมาย การทำประมงที่ทำลายแหล่งที่อยู่อาศัย ทำลาย ระบบนิเวศ ห่วงโซ่อาหาร และส่วนหนึ่เป็นผลกระทบจากสภาพภูมิอากาศที่แปรปรวน หน่วยงานและองค์กร ต่างๆ ในระดับนานาชาติจึเร่ผลักดันมาตรฐานต่าง ๆ ภายใต้การดำเนินการติดฉลากเพื่อสิ่งแวดล้อม (Eco labe) เพื่อจูงใจให้อุตสาหกรรมการทำประมง การเพาะเลี้ยง รวมถึงการทำประมงพื้นบ้านขนาดเล็กเปลี่ยนมาทำ การประมงอย่างยั่งยืน ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และบริหารจัดการประมงอย่างมีประสิทธิภาพ ร่วมกับการรณรงค์ ให้ความกับผู้บรโภคซึ่งถือเป็นส่วนสำคัญที่กำหนดทิศหาความสมบูรณ์ของทรัพยากรทะเลให้สามารถเลือกซื้อ และบริโภคสัตว์น้ำทะเลจากการทำประมงอย่างยั่งยืน
100 เล่ม
กรองแก้ว สูอำพัน
สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
-
การบริหารจัดการ